วันศุกร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
ประเภทของสัตว์นำ
ปลา
ส่วนใหญ่เป็นปลาสวยงาม มีการนำเข้ามาจากประเทศในเขตร้อนโดยเฉพาะอเมริกาใต้ ต่อมาคือ แอฟริกาและอินโดนีเซีย ปลาที่นิยมนำมาเลี้ยง ได้แก่ กลุ่มปลาหมอสี ปลาเทวดา และปลาออสการ์ (วงศ์ Cichlidae) ปลานีออนและอื่น ๆ (วงศ์ Characidae และวงศ์ใกล้เคียง) และปลากลุ่มหางนกยูง ปลาสอด (วงศ์ Poeceilidae) และยังมีปลากลุ่มอื่น ๆ อีกหลายชนิด (เช่น วงศ์ปลาหัวตะกั่ว Aplocheilidae วงศ์ปลาผี Gymnotidae วงศ์ปลากระเบนน้ำจืด Trigonidae ฯลฯ) และมีอีก 14 ชนิดที่นำเข้ามาเพื่อเลี้ยงหรือทดลองเลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร
ส่วนใหญ่เป็นปลาสวยงาม มีการนำเข้ามาจากประเทศในเขตร้อนโดยเฉพาะอเมริกาใต้ ต่อมาคือ แอฟริกาและอินโดนีเซีย ปลาที่นิยมนำมาเลี้ยง ได้แก่ กลุ่มปลาหมอสี ปลาเทวดา และปลาออสการ์ (วงศ์ Cichlidae) ปลานีออนและอื่น ๆ (วงศ์ Characidae และวงศ์ใกล้เคียง) และปลากลุ่มหางนกยูง ปลาสอด (วงศ์ Poeceilidae) และยังมีปลากลุ่มอื่น ๆ อีกหลายชนิด (เช่น วงศ์ปลาหัวตะกั่ว Aplocheilidae วงศ์ปลาผี Gymnotidae วงศ์ปลากระเบนน้ำจืด Trigonidae ฯลฯ) และมีอีก 14 ชนิดที่นำเข้ามาเพื่อเลี้ยงหรือทดลองเลี้ยงเพื่อเป็นอาหาร
ประเภทของสัตว์นำ
สัตว์น้ำ (อังกฤษ: aquatic animal) หมายถึง สัตว์ที่อาศัยในน้ำหรือมีวงจรชีวิตส่วนหนึ่งอยู่ในน้ำหรืออาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ำท่วมถึง เช่น ปลา กุ้ง ปู แมงดาทะเล หอย เต่า กระ ตะพาบน้ำ จระเข้ รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ำนั้น สัตว์น้ำจำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม ปลิงทะเล ฟองน้ำ หินปะการัง กัลปังหา และสาหร่ายทะเล ทั้งนี้ รวมทั้งซากหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์น้ำเหล่านั้น และหมายความรวมถึงพันธุ์ไม้น้ำ ตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อ
สัตว์น้ำต่างถิ่น หมายถึงสัตว์น้ำที่ไม่ได้อยู่ หรือมีถิ่นกำเนิดในท้องที่หรือสิ่งแวดล้อมนั้นๆ โดยอาจจะถูกนำมาทั้งด้วยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจของมนุษย์ หรืออาจมาอยู่ ณ สถานที่นั้นๆด้วยอุบัติเหตุทางธรรมชาติ สำหรับสัตว์น้ำต่างถิ่นในประเทศไทย ได้มีการนำเข้ามาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา คือ ปลาเงินปลาทอง (Carassius auratus) เพื่อใช้เพาะเลี้ยงเป็นอาหารและสัตว์น้ำสวยงาม ปัจจุบันพบว่ามีสัตว์น้ำต่างถิ่นในประเทศไทยมากกว่า 1,100 ชนิด จากประเทศต่าง ๆ เช่น ปลา ประมาณ 1,000 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ประมาณ 50 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน ประมาณ 50 ชนิด หอย 3 ชนิด กุ้ง ปู 8 ชนิด
สัตว์น้ำต่างถิ่น หมายถึงสัตว์น้ำที่ไม่ได้อยู่ หรือมีถิ่นกำเนิดในท้องที่หรือสิ่งแวดล้อมนั้นๆ โดยอาจจะถูกนำมาทั้งด้วยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจของมนุษย์ หรืออาจมาอยู่ ณ สถานที่นั้นๆด้วยอุบัติเหตุทางธรรมชาติ สำหรับสัตว์น้ำต่างถิ่นในประเทศไทย ได้มีการนำเข้ามาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา คือ ปลาเงินปลาทอง (Carassius auratus) เพื่อใช้เพาะเลี้ยงเป็นอาหารและสัตว์น้ำสวยงาม ปัจจุบันพบว่ามีสัตว์น้ำต่างถิ่นในประเทศไทยมากกว่า 1,100 ชนิด จากประเทศต่าง ๆ เช่น ปลา ประมาณ 1,000 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ประมาณ 50 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน ประมาณ 50 ชนิด หอย 3 ชนิด กุ้ง ปู 8 ชนิด
วันอังคารที่ 17 กรกฎาคม พ.ศ. 2555
สัตว์น้ำ
สัตว์น้ำ (อังกฤษ: aquatic animal) หมายถึง สัตว์ที่อาศัยในน้ำหรือมีวงจรชีวิตส่วนหนึ่งอยู่ในน้ำหรืออาศัยอยู่ในบริเวณที่น้ำท่วมถึง เช่น ปลา กุ้ง ปู แมงดาทะเล หอย เต่า กระ ตะพาบน้ำ จระเข้ รวมทั้งไข่ของสัตว์น้ำนั้น สัตว์น้ำจำพวกเลี้ยงลูกด้วยนม ปลิงทะเล ฟองน้ำ หินปะการัง กัลปังหา และสาหร่ายทะเล ทั้งนี้ รวมทั้งซากหรือส่วนหนึ่งส่วนใดของสัตว์น้ำเหล่านั้น และหมายความรวมถึงพันธุ์ไม้น้ำ ตามที่ได้มีพระราชกฤษฎีการะบุชื่อสัตว์น้ำต่างถิ่น หมายถึงสัตว์น้ำที่ไม่ได้อยู่ หรือมีถิ่นกำเนิดในท้องที่หรือสิ่งแวดล้อมนั้นๆ โดยอาจจะถูกนำมาทั้งด้วยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจของมนุษย์ หรืออาจมาอยู่ ณ สถานที่นั้นๆด้วยอุบัติเหตุทางธรรมชาติ สำหรับสัตว์น้ำต่างถิ่นในประเทศไทย ได้มีการนำเข้ามาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา คือ ปลาเงินปลาทอง (Carassius auratus) เพื่อใช้เพาะเลี้ยงเป็นอาหารและสัตว์น้ำสวยงาม ปัจจุบันพบว่ามีสัตว์น้ำต่างถิ่นในประเทศไทยมากกว่า 1,100 ชนิด จากประเทศต่าง ๆ เช่น ปลา ประมาณ 1,000 ชนิด สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก ประมาณ 50 ชนิด สัตว์เลื้อยคลาน ประมาณ 50 ชนิด หอย 3 ชนิด กุ้ง ปู 8 ชนิด
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)